Skip to main content

หอยงวงช้าง เนื้อหา ลักษณะและพฤติกรรม การจำแนก อ้างอิง แหล่งข้อมูลอื่น รายการเลือกการนำทางจาก itis.gov (อังกฤษ)หอยงวงช้างหมึกหอยงวงช้าง จากNautilidae

เซฟาโลพอดซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตหอยงวงช้าง


มอลลัสคาเซฟาโลพอดวิวัฒนาการเซฟาโลพอดหมึกนอติลอยด์ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตหอยฝาเดี่ยวว่ายน้ำเปลือกน้ำถังอับเฉาเรือดำน้ำปลากุ้งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศตัวผู้ตัวเมียผสมพันธุ์ปฏิสนธิตัวอ่อนน่านน้ำไทยทะเลอันดามันมหาสมุทรอินเดียอ่าวไทยชนิดสกุลตัวต้นแบบหอยงวงช้างมุกฟอสซิลเมตรกิโลเมตรหมึก










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




หอยงวงช้าง




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา


สำหรับหอยงวงช้างที่นิยมนำมารับประทาน ดูที่: หอยกูอีดั๊ก

















หอยงวงช้าง
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ไทรแอสซิก-ปัจจุบัน[1]
350–0Ma

PreЄ

Є

O

S

D

C

P

T

J

K

Pg

N









Nautilus profile.jpg

หอยงวงช้างปาเลา (Nautilus belauensis)

WLANL - mennofokke - Nautilus pompilius (Westelijke pacific) 19e eeuw.jpg
ช่องภายในของเปลือกหอยงวงช้างที่แบ่งเป็นห้อง ๆ

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

อาณาจักร:

Animalia

ไฟลัม:

Mollusca
ชั้น:

Cephalopoda
ชั้นย่อย:

Nautiloidea
อันดับ:

Nautilida
อันดับย่อย:

Nautilina
Agassiz, 1847
วงศ์:

Nautilidae
Blainville, 1825

สกุล[2]


  • Carinonautilus (†)


  • Cenoceras (†)


  • Eutrephoceras (†)


  • Pseudocenoceras (†)


  • Strionautilus (†)


  • Allonautilus

  • Nautilus


ชื่อพ้อง[3]

  • Eutrephoceratidae Miller, 1951

หอยงวงช้าง เป็นมอลลัสคาในชั้นเซฟาโลพอด จัดอยู่ในอันดับย่อย Nautilina จัดเป็นมอลลัสคาที่มีวิวัฒนาการค่อนข้างสูง เป็นสิ่งมีชีวิตดึกดำบรรพ์ที่มีชีวิตอยู่บนโลกนี้แล้วกว่า 350 ล้านปี จัดอยู่ในชั้นเซฟาโลพอด อันเป็นชั้นเดียวกับปลาหมึก ในชั้นย่อยนอติลอยด์ จัดเป็นนอติลอยด์เพียงกลุ่มเดียวเท่าที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตจำพวกหนึ่งก็ว่าได้[4]




เนื้อหา





  • 1 ลักษณะและพฤติกรรม


  • 2 การจำแนก


  • 3 อ้างอิง


  • 4 แหล่งข้อมูลอื่น




ลักษณะและพฤติกรรม


มีลักษะเหมือนหมึกผสมกับหอยฝาเดี่ยว เป็นสัตว์ที่ว่องไว ว่ายน้ำได้ดี ตาไม่มีคอร์เนียและเลนส์ เป็นแอ่งบุ๋มจากลำตัวเข้ามา มีน้ำทะเลเข้ามาอาบในชั้นเรตินาจึงรับภาพไม่ได้ เยื่อแมนเทิลมีกล้ามเนื้อหนา มีหนวดที่มากถึง 63-94 เส้น ซึ่งมากกว่าหมึกเสียอีก[5]และมีประสาทสัมผัสที่ทำหน้าที่เหมือนเซนเซอร์สำหรับสัมผัสและรับรู้ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ เช่น การหาอาหารและหลบหลีกศัตรู[6] มีเปลือกหุ้มอยู่ภายนอก เปลือกขดเป็นวง มีผนังกั้นภายในตามขวาง แบ่งเป็นช่องอยู่ด้านในคล้ายห้อง ช่องนอกสุดที่มีขนาดใหญ่สุดเป็นช่องที่ตัวหอยอาศัยอยู่ อากาศที่อยู่ในช่องของเปลือกทำให้หอยงวงช้างลอยตัวได้ เมื่อจะดำน้ำลง หอยจะปล่อยอากาศที่อยู่ในช่องเหล่านี้ออกมา แล้วให้น้ำเข้ามาแทนที่ ทำให้ตัวหนักและจมลงได้ อันเป็นหลักการเดียวกับถังอับเฉาในเรือดำน้ำ


หอยงวงช้างว่ายน้ำโดยการพ่นน้ำออกไปทางท่อไซฟอนเช่นเดียวกับหมึก แต่การว่ายน้ำของหอยงวงช้างเป็นไปอย่างช้า ๆ ไม่รวดเร็วเท่าหมึกเนื่องจากมีเปลือก และไม่สามารถเห็นทิศทางที่จะไปได้ เพราะเป็นการว่ายถอยหลัง[6] อาหารที่ชอบกินได้แก่ ปลา, กุ้ง ที่ว่ายน้ำอยู่ใกล้พื้นทะเล หอยงวงช้างมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยแยกเพศกันเป็นตัวผู้และตัวเมีย การผสมพันธุ์มีความคล้ายคลึงกับหมึก โดยตัวผู้จับถุงเสปิร์มส่งเข้าไปในช่องลำตัวของตัวเมีย ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้วจะฟักเป็นตัวโดยตรง และไม่มีระยะตัวอ่อน ในน่านน้ำไทยมีหอยงวงช้างอยู่จำนวนไม่มากนัก โดยพบทางทะเลอันดามันของมหาสมุทรอินเดีย และไม่พบในอ่าวไทย[7] เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน โดยในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวอยู่ในที่ลึก อาจถึง 400 เมตรได้[6]


จากการเลี้ยงในสถานที่เลี้ยง พบว่าหอยงวงช้างมีการวางไข่ โดยจะวางไข่ติดกับก้อนหิน ไข่ใช้ระยะเวลาฟัก 8 เดือน หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำ ตัวอ่อนมีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 3 เซนติเมตร แต่อย่างไรก็ตาม จวบจนปัจจุบันยังไม่สามารถเลี้ยงลูกหอยงวงช้างจนกระทั่งโตเต็มวัยได้[8]



การจำแนก


มีเพียงวงศ์เดียว คือ Nautilidae มีอยู่ด้วย 6 ชนิดใน 2 สกุล ตัวต้นแบบมาจากสกุล Nautilus ซึ่งมักอ้างอย่างเฉพาะเจาะจงลงไปที่ หอยงวงช้างมุก (N. pompilius) และยังใช้เรียกชนิดใดก็ตามที่อยู่ในวงศ์เดียวกันนี้ โดยการปรับตัวอยู่ในน้ำลึกมาหลายล้านปีทำให้หอยงวงช้างเป็นสมาชิกเพียงจำพวกเดียวของ ชั้นย่อย Nautiloidea ที่ยังมีชีวิตอยู่ และมักจะพบเป็นฟอสซิลตามหินฟอสซิลโบราณนักชีววิทยาจึงจัดให้เป็นฟอสซิลที่ยังมีชีวิตอยู่


หอยงวงช้าง เป็นหอยที่อาศัยอยู่ในน้ำลึก ประมาณ 400-600 เมตร และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 3 กิโลเมตร แต่ไม่มีหมึกเพื่อป้องกันตัวเช่นเดียวกับปลาหมึก[9]



อ้างอิง




  1. Ward, P. D.; Saunders, W. B. (1997). "Allonautilus: A New Genus of Living Nautiloid Cephalopod and Its Bearing on Phylogeny of the Nautilida". Journal of Paleontology (Paleontological Society) 71 (6): 1054–1064. doi:10.2307/1306604. JSTOR 1306604. edit


  2. จาก itis.gov (อังกฤษ)


  3. Cichowolski, M.; Ambrosio, A.; Concheyro, A. (2005). "Nautilids from the Upper Cretaceous of the James Ross Basin, Antarctic Peninsula". Antarctic Science 17 (2): 267. doi:10.1017/S0954102005002671. edit


  4. หอยงวงช้าง


  5. หมึก


  6. 6.06.16.2 Ocean Deep, "Planet Earth". สารคดีทางบีบีซี: 2006


  7. หอยงวงช้าง จากกรมประมง


  8. หอยงวงช้าง (Nautilus), หน้า 141-142. คอลัมน์ "คลินิกสัตว์ทะเล" โดย ดร.วรเทพ มุธุวรรณ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา. นิตยสาร Aquarium Biz ฉบับที่ 35 ปีที่ 3: พฤษภาคม 2013


  9. "cephalopod." Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica Online Academic Edition. Encyclopædia Britannica Inc., 2013. Web. 13 May. 2013. <http://www.britannica.com/EBchecked/topic/103036/cephalopod>.






แหล่งข้อมูลอื่น











ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=หอยงวงช้าง&oldid=7092204"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.264","walltime":"0.343","ppvisitednodes":"value":12266,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":43920,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":19721,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":20,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":4359,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":1,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 287.316 1 -total"," 76.76% 220.550 1 แม่แบบ:Taxobox"," 72.15% 207.313 1 แม่แบบ:Taxobox/core"," 34.51% 99.157 1 แม่แบบ:Fossil_range"," 31.14% 89.466 1 แม่แบบ:Phanerozoic_220px"," 24.30% 69.815 11 แม่แบบ:Fossil_range/bar"," 20.12% 57.794 34 แม่แบบ:Period_start"," 13.07% 37.561 7 แม่แบบ:Taxonomy"," 12.70% 36.497 1 แม่แบบ:คอมมอนส์-หมวดหมู่"," 10.29% 29.572 11 แม่แบบ:Period_end"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.013","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1022276,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1268","timestamp":"20190414092435","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e2bu0e2du0e22u0e07u0e27u0e07u0e0au0e49u0e32u0e07","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q223939","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q223939","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2007-12-20T03:14:28Z","dateModified":"2017-07-02T22:16:18Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/1/1b/Nautilus_profile.jpg"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":114,"wgHostname":"mw1239"););

Popular posts from this blog

Log på Navigationsmenu

Creating second map without labels using QGIS?How to lock map labels for inset map in Print Composer?How to Force the Showing of Labels of a Vector File in QGISQGIS Valmiera, Labels only show for part of polygonsRemoving duplicate point labels in QGISLabeling every feature using QGIS?Show labels for point features outside map canvasAbbreviate Road Labels in QGIS only when requiredExporting map from composer in QGIS - text labels have moved in output?How to make sure labels in qgis turn up in layout map?Writing label expression with ArcMap and If then Statement?

Nuuk Indholdsfortegnelse Etyomologi | Historie | Geografi | Transport og infrastruktur | Politik og administration | Uddannelsesinstitutioner | Kultur | Venskabsbyer | Noter | Eksterne henvisninger | Se også | Navigationsmenuwww.sermersooq.gl64°10′N 51°45′V / 64.167°N 51.750°V / 64.167; -51.75064°10′N 51°45′V / 64.167°N 51.750°V / 64.167; -51.750DMI - KlimanormalerSalmonsen, s. 850Grønlands Naturinstitut undersøger rensdyr i Akia og Maniitsoq foråret 2008Grønlands NaturinstitutNy vej til Qinngorput indviet i dagAntallet af biler i Nuuk må begrænsesNy taxacentral mødt med demonstrationKøreplan. Rute 1, 2 og 3SnescootersporNuukNord er for storSkoler i Kommuneqarfik SermersooqAtuarfik Samuel KleinschmidtKangillinguit AtuarfiatNuussuup AtuarfiaNuuk Internationale FriskoleIlinniarfissuaq, Grønlands SeminariumLedelseÅrsberetning for 2008Kunst og arkitekturÅrsberetning for 2008Julie om naturenNuuk KunstmuseumSilamiutGrønlands Nationalmuseum og ArkivStatistisk ÅrbogGrønlands LandsbibliotekStore koncerter på stribeVandhund nummer 1.000.000Kommuneqarfik Sermersooq – MalikForsidenVenskabsbyerLyngby-Taarbæk i GrønlandArctic Business NetworkWinter Cities 2008 i NuukDagligt opdaterede satellitbilleder fra NuukområdetKommuneqarfik Sermersooqs hjemmesideTurist i NuukGrønlands Statistiks databankGrønlands Hjemmestyres valgresultaterrrWorldCat124325457671310-5