Skip to main content

ปราสาทฮิเมจิ เนื้อหา สถาปัตยกรรม ประวัติ ตำนานเล่าขาน มรดกโลก อ้างอิง แหล่งข้อมูลอื่น รายการเลือกการนำทางชื่อตามที่ได้จดทะเบียนในบัญชีมรดกโลกภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโกแกะรอยปราสาทสุดเฮี้ยนข้อมูลโอคิคุจาก artelino.comปราสาทฮิเมจิHimeji Castle GuideHimeji castle websiteOfficial UNESCO page for Himeji castleHimeji Tourist Information・Worlds Cultural Heritege Himeji castle34°50′22″N 134°41′38″E / 34.83944°N 134.69389°E / 34.83944; 134.69389เพิ่มข้อมูล

พุทธสถานในพื้นที่โฮรีวจิปราสาทฮิเมจิอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ (นครเกียวโต, อุจิ และโอสึ)อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์นาระโบราณศาลเจ้าชินโตอิสึกุชิมะหมู่บ้านประวัติศาสตร์ชิรากาวะโกและโกกายามะอนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะ (โดมปรมาณู)ศาลเจ้าและวัดแห่งนิกโกแหล่งกุซุกุและทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องของอาณาจักรรีวกีวแหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิเหมืองเงินอิวามิและภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมฮิราอิซูมิ–สวนและโบราณสถานอย่างพุทธเกษตรฟุจิซัง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์และแหล่งที่มาของความบันดาลใจทางศิลปะโรงงานทอผ้าโทะมิโอะกะและสถานที่ที่เกี่ยวข้องแหล่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมจิของญี่ปุ่น-อุตสาหกรรมเหล็ก เหล็กกล้า การต่อเรือและเหมืองถ่านหินงานสถาปัตยกรรมของเลอกอร์บูซีเย คุณูปการอันโดดเด่นต่อขบวนการสมัยใหม่เกาะศักดิ์สิทธิ์โอะกิโนะชิมะและสถานที่ที่เกี่ยวข้องในภูมิภาคมุนะกะตะแหล่งคริสเตียนลับในภูมิภาคนางาซากิ


สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1330สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1340สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1580สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1600สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1610มรดกโลกในประเทศญี่ปุ่นมรดกโลกทางวัฒนธรรมปราสาทญี่ปุ่นสมบัติประจำชาติญี่ปุ่นจังหวัดเฮียวโงะสถานที่อาถรรพณ์บทความเกี่ยวกับ สถานที่ ที่ยังไม่สมบูรณ์


ญี่ปุ่นโรมาจิปราสาทญี่ปุ่นฮิเมจิจังหวัดเฮียวโงะสงครามโลกครั้งที่สองแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538พ.ศ. 2536ปราสาทมัตสึโมโตะปราสาทคูมาโมโตะสมบัติประจำชาติญี่ปุ่นมรดกโลกเขาวงกตเขาฮิเมจิโทโยโตมิ ฮิเดโยชิคูโรดะ โยชิตากะโทกูงาวะ อิเอยาซุอิเกดะ เทรูมาซะยุคเอโดะไดเมียวสงครามโลกครั้งที่สองผีผีนับจานเมืองการ์ตาเฮนาประเทศโคลอมเบียข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




ปราสาทฮิเมจิ




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา










ฮิเมจิโจ *
มรดกโลกโดยยูเนสโก

Himeji Castle The Keep Towers.jpg
ฮิเมจิโจ

ประเทศเมืองฮิเมจิ
จังหวัดเฮียวโงะ
 ญี่ปุ่น
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(i) (iv)
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2536 (คณะกรรมการสมัยที่ 17)


  • ชื่อตามที่ได้จดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
    ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก


ภาพมุมกว้างของลานหน้าปราสาท เห็นทิวทัศน์เมืองฮิเมจิอยู่เบื้องหลัง




ปราสาทฮิเมจิในปลายฤดูใบไม้ผลิ




ปราสาทฮิเมจิ


ปราสาทฮิเมจิ (ญี่ปุ่น: 姫路城 โรมาจิ: Himeji-jo, Himeji Castle) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเมืองฮิเมจิ จังหวัดเฮียวโงะ เป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งที่เหลือรอดมาจากการทิ้งระเบิดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538 ปราสาทฮิเมจิได้รับการยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกและสมบัติประจำชาติญี่ปุ่นเมื่อเดือนธันวาคมปี พ.ศ. 2536 ถือว่าเป็น 1 ใน 3 ปราสาทที่งดงามที่สุดในญี่ปุ่น โดยอีก 2 แห่งคือ ปราสาทมัตสึโมโตะ และปราสาทคูมาโมโตะ และยังเป็นปราสาทที่มีผู้มาเยี่ยมชมมากที่สุดในญี่ปุ่น ชาวญี่ปุ่นนิยมเรียกในชื่อว่า "ปราสาทนกกระสาขาว" หรือ ฮากุระโจ[1] ซึ่งมีที่มาจากพื้นผิวปราสาทภายนอกซึ่งมีสีขาวสว่าง ในปัจจุบันปราสาทฮิเมจิได้ขึ้นทะเบียนเป็นสมบัติประจำชาติญี่ปุ่นและมรดกโลก




เนื้อหา





  • 1 สถาปัตยกรรม


  • 2 ประวัติ


  • 3 ตำนานเล่าขาน


  • 4 มรดกโลก


  • 5 อ้างอิง


  • 6 แหล่งข้อมูลอื่น




สถาปัตยกรรม


ปราสาทฮิเมจิเป็นตัวอย่างที่สมบูรณ์ของปราสาทญี่ปุ่น ด้วยมีลักษณะสถาปัตยกรรมและยุทโธปกรณ์ครบตามแบบของปราสาทญี่ปุ่น ทั้งฐานหินสูง กำแพงสีขาว และอาคารต่างๆในบริเวณปราสาทถือได้ว่าเป็นมาตรฐานตามแบบของปราสาทญี่ปุ่น และรอบๆปราสาทยังมีเครื่องป้องกันอีกมากมาย เช่น ช่องใส่ปืนใหญ่ รูสำหรับโยนหินออกนอกปราสาท


จุดเด่นของปราสาทอย่างหนึ่งคือ ทางเดินสู่อาคารหลักซึ่งสลับซับซ้อนราวกับเขาวงกต ทั้งประตูและกำแพงต่างๆในปราสาทได้รับการออกแบบมาอย่างดีเพื่อป้องกันศัตรูไม่ให้บุกรุกเข้าถึงโดยง่าย โดยทางเดินมีลักษณะเป็นวงก้นหอยรอบๆอาคารหลัก และระหว่างทางก็จะพบทางตันอีกมากมาย ระหว่างที่ศัตรูกำลังหลงทางอยู่นี้ก็จะถูกโจมตีจากข้างบนอาคารหลักได้โดยสะดวก แต่อย่างไรก็ตาม ปราสาทฮิเมจิก็ยังไม่เคยถูกโจมตีในลักษณะนี้เลย ระบบการป้องกันต่างๆจึงยังไม่เคยถูกใช้งาน



ประวัติ


เมื่อปี 1346 อากามัตสึ ซาดาโนริ ได้วางแผนที่จะสร้างปราสาทขึ้นที่เชิงเขาฮิเมจิที่ซึ่งอากามัตสึ โนริมุระ ได้สร้างวัดโชเมียวขึ้น หลังจากอากามัตสึเสียชีวิตในสงครามคากิตสึ ตระกูลยามานะได้เข้าครอบครองปราสาท แต่หลังจากสงครามโอนิน ตระกูลอากามัตสึก็ยึดปราสาทกลับมาได้อีกครั้ง


ปี 1580 โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ ได้เข้ามาเป็นผู้ปกครองปราสาท และมีการสร้างหออาคารหลักสูง 3 ชั้น ดำเนินการโดยคูโรดะ โยชิตากะ


หลังจากสงครามเซกิงาฮาราในปี ค.ศ. 1601 โทกูงาวะ อิเอยาซุได้ยกปราสาทฮิเมจิให้แก่อิเกดะ เทรูมาซะุ อิเกดะได้ดำเนินการต่อเติมปราสาทเป็นเวลา 8 ปี จนเป็นรูปลักษณ์อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ส่วนต่อเติมส่วนสุดท้าย คือ วงเวียนด้านตะวันตก เสร็จสมบูรณ์เมื่อปี 1618


เมื่อสิ้นสุดยุคเอโดะ ปราสาทฮิเมจิเป็นหนึ่งในสมบัติชิ้นสุดท้ายของไดเมียวโทซามะ ขณะนั้นปราสาทถูกปกครองโดยทายาทของซากาอิ ทาดาซูมิ จนกระทั่งเมื่อเข้าสู่ยุคเมจิ ปี ค.ศ. 1868 รัฐบาลใหม่ของญี่ปุ่นได้ส่งกองกำลังภายใต้การบังคับบัญชาของทายาทของอิเกดะ เทรูมาซะ เข้าบุกปราสาท และขับไล่ผู้ปกครองออกไป


ปราสาทฮิเมจิถูกทิ้งระเบิดในปี ค.ศ. 1945 เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง แม้ว่าพื้นที่โดยรอบส่วนใหญ่จะถูกเผาทำลาย แต่ปราสาทยังคงตั้งอยู่ได้โดยแทบไม่เสียหาย



ตำนานเล่าขาน




บ่อน้ำที่สิงสถิตย์ของวิญญาณโอกิกุ


ปราสาทฮิเมจิ ยังเป็นสถานที่ ๆ เป็นที่รู้จักกันดีในตำนานพื้นบ้านเกี่ยวกับผีที่ขึ้นชื่อ เรื่อง "ผีนับจาน" หรือซารายาชิกิ คือ เรื่องราวของโอกิกุ สาวใช้ของซามูไรผู้หนึ่งที่ทำจานล้ำค่าของตระกูลซามูไรแตก จึงถูกลงโทษด้วยการโยนร่างลงในบ่อน้ำ โดยในเวลาค่ำคืนจะมีผู้ได้ยินเสียงผู้หญิงโหยหวนดังมาจากบ่อน้ำเป็นเสียงนับจานช้า ๆ จนครบเก้าใบ ซึ่งบ่อน้ำนี้ยังปรากฏมาจนถึงทุกวันนี้ แต่อย่างไรก็ตามตำนานนี้ยังมีการเล่าขานในลักษณะที่แตกต่างกันออกไป[2]



มรดกโลก


ปราสาทฮิเมจิได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 17 เมื่อปี พ.ศ. 2536 ที่เมืองการ์ตาเฮนา ประเทศโคลอมเบีย ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้



  • (i) - เป็นตัวแทนในการแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันชาญฉลาดของมนุษย์


  • (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ


อ้างอิง




  1. แกะรอยปราสาทสุดเฮี้ยน จากไทยรัฐ (11/10/2015)


  2. ข้อมูลโอคิคุจาก artelino.com (13/10/2007)




แหล่งข้อมูลอื่น




  • Himeji Castle Guide


  • Himeji castle website (requires Macromedia Flash plugin)

  • Official UNESCO page for Himeji castle

  • Himeji Tourist Information・Worlds Cultural Heritege Himeji castle

พิกัดภูมิศาสตร์: 34°50′22″N 134°41′38″E / 34.83944°N 134.69389°E / 34.83944; 134.69389











ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ปราสาทฮิเมจิ&oldid=8068157"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.168","walltime":"0.248","ppvisitednodes":"value":624,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":34838,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":1665,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":10,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":870,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":1,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 171.097 1 -total"," 29.00% 49.610 1 แม่แบบ:Coord"," 24.14% 41.295 1 แม่แบบ:กล่องข้อมูล_มรดกโลก"," 21.33% 36.501 1 แม่แบบ:Infobox"," 17.67% 30.238 1 แม่แบบ:คอมมอนส์-หมวดหมู่"," 11.06% 18.918 1 แม่แบบ:มรดกโลกญี่ปุ่น"," 8.85% 15.136 1 แม่แบบ:Navbox"," 7.96% 13.611 1 แม่แบบ:Commons"," 5.85% 10.007 1 แม่แบบ:Sister"," 5.69% 9.744 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.043","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1461635,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1261","timestamp":"20190414133300","ttl":2592000,"transientcontent":false);mw.config.set("wgBackendResponseTime":110,"wgHostname":"mw1263"););

Popular posts from this blog

Log på Navigationsmenu

Creating second map without labels using QGIS?How to lock map labels for inset map in Print Composer?How to Force the Showing of Labels of a Vector File in QGISQGIS Valmiera, Labels only show for part of polygonsRemoving duplicate point labels in QGISLabeling every feature using QGIS?Show labels for point features outside map canvasAbbreviate Road Labels in QGIS only when requiredExporting map from composer in QGIS - text labels have moved in output?How to make sure labels in qgis turn up in layout map?Writing label expression with ArcMap and If then Statement?

Nuuk Indholdsfortegnelse Etyomologi | Historie | Geografi | Transport og infrastruktur | Politik og administration | Uddannelsesinstitutioner | Kultur | Venskabsbyer | Noter | Eksterne henvisninger | Se også | Navigationsmenuwww.sermersooq.gl64°10′N 51°45′V / 64.167°N 51.750°V / 64.167; -51.75064°10′N 51°45′V / 64.167°N 51.750°V / 64.167; -51.750DMI - KlimanormalerSalmonsen, s. 850Grønlands Naturinstitut undersøger rensdyr i Akia og Maniitsoq foråret 2008Grønlands NaturinstitutNy vej til Qinngorput indviet i dagAntallet af biler i Nuuk må begrænsesNy taxacentral mødt med demonstrationKøreplan. Rute 1, 2 og 3SnescootersporNuukNord er for storSkoler i Kommuneqarfik SermersooqAtuarfik Samuel KleinschmidtKangillinguit AtuarfiatNuussuup AtuarfiaNuuk Internationale FriskoleIlinniarfissuaq, Grønlands SeminariumLedelseÅrsberetning for 2008Kunst og arkitekturÅrsberetning for 2008Julie om naturenNuuk KunstmuseumSilamiutGrønlands Nationalmuseum og ArkivStatistisk ÅrbogGrønlands LandsbibliotekStore koncerter på stribeVandhund nummer 1.000.000Kommuneqarfik Sermersooq – MalikForsidenVenskabsbyerLyngby-Taarbæk i GrønlandArctic Business NetworkWinter Cities 2008 i NuukDagligt opdaterede satellitbilleder fra NuukområdetKommuneqarfik Sermersooqs hjemmesideTurist i NuukGrønlands Statistiks databankGrønlands Hjemmestyres valgresultaterrrWorldCat124325457671310-5